ชุดเชื่อมแก๊ส

แนะนำ 4 ลักษณะงานที่สร้างสรรค์ด้วยชุดเชื่อมแก๊สสนาม มีอะไรบ้าง

กระบวนการเชื่อมแก๊ส ได้รับความนิยมอยู่ 2 รูปแบบคือการเชื่อมแก๊สโดยใช้อะซีทิลีนและการใช้แก๊สโดยใช้แก๊ส LPG งานเชื่อมแก๊สมีการติดตั้งที่มีอุปกรณ์หลายอย่างนอกจากนี้ยังมีการจัดชุดเคลื่อนที่เร็วหรือชุดเชื่อมแก๊สสนามขึ้นมาเป็นพิเศษ ซึ่งการเชื่อมด้วยแก๊สเป็นกระบวนการเชื่อมที่มีรูปแบบเก่าแก่และมีความยืดหยุ่นสูง ในปัจจุบันงานเชื่อมแก๊สได้รับความนิยมใช้กับงานเชื่อมท่อและการซ่อมบำรุงเช่น ท่อทองแดง,ทองเหลือง,และงานขึ้นรูปสังกะสีเป็นต้น ความสามารถของชุดเชื่อมแก๊สสนาม นำไปใช้ในงานลักษณะแบบไหนได้บ้าง  การเชื่อมด้วยแก๊ส โดยเฉพาะการใช้ชุดเชื่อมแก๊สสนาม ต้องคำนึงถึงปริมาณของแก๊สที่นำไปใช้ในระหว่างปฏิบัติงาน ในปัจจุบันมีหลายขนาด เริ่มตั้งแต่ 0.5 คิวไปถึง 2 คิวหรือมากกว่า  ลักษณะการปฏิบัติงานด้วยชุดเชื่อมแก๊สสามารถใช้ ในงานเชื่อมโลหะ ตัดโลหะ และอื่นๆที่สำคัญมีอะไรบ้าง การเชื่อมด้วยแก๊สจากชุดเชื่อมแก๊ส มีการเตรียมอุปกรณ์ขนาดย่อยที่สามารถปฏิบัติงานได้ตามสภาพของการบรรจุแก๊สในถัง โดยใช้เปลวไฟที่เป็นนิวทรอล ที่มาจากการปรับแต่งปริมาณ ของแก๊สเชื้อเพลิงและออกซิเจนให้เกิดเป็นเปลวไฟที่ทับซ้อนกัน มีความร้อนที่เหมาะสม จนสามารถหลอมละลายโลหะ และตัวเชื่อมโลหะได้ดี ได้รับความนิยมนำไปใช้งานเชื่อมอะลูมิเนียม ลวดเชื่อมที่ใช้จะเป็นลวดเชื่อมอลูมิเนียมด้วยเช่นกัน  เป็นกระบวนการเชื่อมแก๊สที่มีการปรับแต่งเปลวไฟ เปลวคาร์บูไรซิ่ง ที่มีส่วนประกอบของแก๊สออกซิเจนน้อยกว่าแก๊สอะซิทีลีน สังเกตดูจากกรวยของไฟมี 3 ชั้น เหมาะ สำหรับนำไปใช้งานเชื่อมแก๊สที่ใช้กับโลหะหรืออโลหะที่ทนต่อการหลอมเหลวต่ำเช่น ตะกั่ว ลวดเชื่อมที่ทำมาจากตะกั่วเป็นต้น  การตัดแก๊สหรือใช้ในการตัดแบบเครื่องพลาสม่า มีการปรับแต่งขนาดของเปลวไฟที่หัวเชื่อมแก๊สหรือหัวติ๊กปรับเปลวไฟให้เป็นลักษณะ oxidizing มีลักษณะปริมาณของแก๊สออกซิเจนมากกว่าแก๊สอะซิทีลีน มีกรวยไฟ 2 ชั้นโดยประมาณ มีลักษณะไฟเป็นรูปกรวยแหลมคม ใช้สำหรับงานตัดเหล็กและตัดโลหะทั่วไปเป็นต้น  การใช้ชุดเชื่อมแก๊ส ที่มีขนาดเล็กนำไปใช้ลักษณะงานรูปแบบการบัดกรีเช่น […]

Read More